Unit 19 A HOLIDAY IN EGYPT Streamline B- Connections
Unit 20 COMPARISONS Streamline B- Connections.
Unit 1 ALL ABOARD Streamline B- Connections
Unit 2 TELEPHONING Streamline B- Connections
Unit 3 FIZZ IS FANTASTIC! Streamline B- Connections.
วันอาทิตย์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วิธีการย่อความ และรูปแบบของย่อความ
การย่อความเป็นการช่วยสรุปใจความสำคัญของสิ่งที่ได้ฟัง ได้อ่าน ช่วยให้จดจำสาระต่างๆ ได้แม่นยำ และจำเป็นสำหรับการศึกษา หาความรู้เพราะช่วยให้จดบันทึกต่าง ๆ ได้รวดเร็ว และสามารถนำมาทบทวนต่าง ๆ ได้รวดเร็ว และสามารถนำมาทบได้ภายหลัง
วิธีการฝึกเขียนย่อความ
อ่านเรื่องที่ต้องการย่ออย่างละเอียด ด้วยความเป็นกลางหลายๆรอบ ว่าผู้เขียนต้องการเน้นหรือเสนอเรื่องอะไร มีความสำคัญอะไรบ้าง
อ่านพิจารณา จับใจความสำคัญออกมาบันทึกด้วยภาษาที่รัดกุม
นำใจความทั้งหมดมาเรียบเรียงใหม่ ให้เนื้อความสำคัญกันตามลำดับโดยใช้ประโยคสั้นๆ ความหมายชัดเจน
ทบทวนข้อความเรียบเรียงอีกครั้ง ดูความบกพร่องอย่างถี่ถ้วนว่า ความหมายของเรื่องตกไปหรือเปลี่ยนไปจากเดิมหรือไม่
รูปแบบการย่อความ
มีดังนี้
1. ถ้าเรื่องที่จะย่อเป็น บทความ นิทาน นิยาย ตำนาน ประวัติ คำประพันธ์ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง ที่มาของเรื่อง ถ้าเดิมไม่มีชื่อเรื่องต้องตั้งขึ้นเอง แบบขึ้นต้นย่อความดังกล่าวข้างต้นมีรูปแบบขึ้นต้นดังนี้
บทความเรื่อง……………………………......................................................
(ใครเป็นผู้แต่ง) ของ..........................................................................
(จากหนังสืออะไร หน้าเท่าไร) จาก.......................................................
มีความว่า……....................................................................................
2. ถ้าเรื่องที่จะย่อเป็น จดหมาย หรือ หนังสือราชการ ขึ้นต้น ดังนี้
จดหมาย, หนังสือราชการ ของใคร ถึงใคร ลงเลขที่เท่าไร........................
เรื่อง................................................................................................
วัน เดือน ปี ......................................................................................
มีความว่า……....................................................................................
3. ถ้าเป็นจดหมายตอบรับ ขึ้นต้นดังนี้
ย่อจดหมายของใคร ถึงใคร ลงเลขที่เท่าไร (ถ้าเป็นจดหมายราชการ)
เรื่องอะไร ........................................................................................
วัน เดือน ปี อะไร ..............................................................................
ความฉบับแรกว่าอะไร ........................................................................
ใครตอบเมื่อไร ..................................................................................
มีความว่า….......................................................................................
4. ถ้าเรื่องที่จะย่อเป็น พระราชดำรัส พระบรมราโชวาท โอวาท ปาฐกถาสุนทรพจน์ คำปราศรัย คำเทศนา ขึ้นต้นดังนี้
พระราชดำรัส ของ............................................................................
ล่าว (แสดง,ให้,พระราชทาน…..ฯลฯ) แก่...............................................
เรื่องอะไร (ถ้ามี)
เนื่องในงานอะไร(ถ้ามี)
ณ ที่ใด ...........................................................................................
เมื่อไร .............................................................................................
ถ้าย่อจากหนังสือ ให้บอก วัน เดือน ปี ปีที่พิมพ์ และหน้า ...........................
มีความว่า……....................................................................................
จาก http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=326cc5b139727203&pli=1
วิธีอ่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่อง
1. บทนำ
ปัจจุบันความรู้วิชาการในด้านต่างๆได้มีการเผยแพร่ออกมามากมายเพื่อให้เราได้ศึกษาหาความรู้ ใครอ่านมากก็ได้เปรียบคนอื่น ยิ่งในเวลาที่เท่าๆกันด้วยแ้ล้วถ้าเราสามารถอ่านหนังสือ
ได้เร็วและรู้เรื่องก็จะยิ่งได้เปรียบคนอื่นๆมากยิ่งขึ้นเป็นเงาตามตัวเพราะจะประหยัดเวลาในการอ่านได้มาก หรือ เราจะสามารถอ่านหนังสือได้มากขึ้นในเวลาที่เท่าๆกัน ดังนั้น การศึกษา
วิธีการอ่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่องจึงเป็นสิ่งจำเป็นและมีประโยชน์สำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้สิ่งต่างๆเป็นอย่างมาก
มีงานวิจัยเป็นจำนวนมากได้เสนอวิธีการอ่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่อง และ ต่อไปนี้เป็นวิธีการอ่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่องอีกวิธีหนึ่งในหลายๆวิธี
2. ลักษณะการอ่านที่มีประสิทธิภาพ
อ่านได้เร็ว
จดจำสิ่งที่อ่านได้
เข้าใจสิ่งที่อ่านและตีความได้ถูกต้อง
ถ่ายทอดให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจตามได้
3. วิธีที่ทำให้การอ่านช้าลง และ แนวทางแก้ไข
ขยับริมฝีปากขณะอ่าน - แก้ไขโดยการคาบปากกาหรือดินสอขณะอ่าน
ส่ายศีรษะไปมาขณะอ่าน - แก้ไขโดยเอามือทั้ง 2 ข้างยันแก้มไว้แล้วเอาข้อศอกยันไว้บนโต๊ะ
อ่านทีละคำ - แก้ไขโดยอ่านเป็นวลี หรือ ประโยค
อ่านออกเสียงพึมพำเบาๆ - แก้ไขโดยการคาบปากกาหรือดินสอขณะอ่าน
ใช้นิ้วชี้ไปที่ตัวหนังสือขณะอ่าน - แก้ไขโดยคาบปากกาหรือดินสอขณะอ่าน หรือ เอามือกอดอกไว้
อ่านย้อนกลับไปกลับมา ถ้าต้องอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์หรือเพื่อตีความก็สามารถทำได้ - แก้ไขโดยบังคับตัวเองให้อ่านไปเรื่อยๆ หรือ ใช้ไม้บรรทัด หรือ กระดาษแข็งปิดส่วนที่ไม่ได้อ่าน
4. ลักษณะการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
กำหนดจุดมุ่งหมายในการอ่าน
อ่านเพื่ออะไร - เพื่อหาความรู้ หรือ เพื่อความบันเทิง หรือ เพื่อฆ่าเวลา
ต้องจำอะไรบ้าง
มีคำถามใดที่จะต้องหาคำตอบให้ได้บ้าง
จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคืออะไร
เมื่ออ่านจบแล้วได้ข้อสรุปอะไรบ้าง
มีสมาธิในการอ่าน
ขีดเส้นใต้ หรือ เน้นข้อความทีอ่าน
มีวิธีการที่ยืดหยุ่นในการอ่าน
ปรับความเร็วในการอ่านได้เหมาะสมกับจุดประสงค์ของการอ่าน
ประยุกต์วิธีการอ่านที่หลากหลายในการอ่าน
เข้าใจเรื่องที่อ่่าน
จำได้
จับใจความสำคัญได้
ตีความ หรือ ขยายความได้
สรุปได้
ถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้รับรู้ รับทราบได้
5. วิธีการอ่่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่องโดยทั่วไป
ถ้าข้อความที่อ่านเป็นย่อหน้า
อ่านประโยคแรก และ ประโยคสุดท้าย
ถามตัวเองว่ารู้เรื่องและเข้าใจย่อหน้านั้นๆหรือไม่ หรือ ต้องอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม
ถ้าเข้าใจ หรือ เดาความหมายได้ ให้อ่านย่อหน้าต่อไป
อ่านเรื่องนั้นๆติดต่อกันจนจบ ถ้าหยุดความคิดจะไม่ต่อเนื่อง
คาดการณ์เรื่องที่อ่านล่วงหน้าว่าต่อไปจะเป็นอย่างไร
อ่านข้อความแต่ละบรรทัดเป็นวลี หรือ ประโยค อย่าอ่านทีละคำ
ให้จุด focus ของตาอยู่กึ่งกลางวลี หรือ ประโยค
6. วิธีการช่วยจำขณะอ่าน
ขีดเส้นใต้ หรือ เน้นข้อความที่คิดว่าสำคัญโดยใช้ปากกาสี
ทำการบันทึกย่อ โดยทำเค้าโครงร่างเฉพาะหัวข้อสำคัญๆ หรือ สรุปสาระสำคัญ
7. วิธีการอ่านที่ดีและมีประสิทธิภาพ มีหลายวิธีแต่ที่นิยมกันมากมี 5 วิธี
อ่านแบบข้ามคำ ( SKIMMING )
อ่าน 2 - 3 คำแรก และ 2 - 3 สุดท้ายของแต่ละประโยค
อ่านช่วงแรกของประโยคเร็วๆ และ ไม่อ่านจนจบประโยค
อ่านเฉพาะตอนกลางของหน้าหนังสือ
อ่านประโยคแรก + ประโยคสุดท้ายของแต่ละย่อหน้า
อ่านเฉพาะวลี หรือ กลุ่มคำที่สำคัญๆ
การอ่านแบบสำรวจ ( SURVEY )
สำหรับอ่านหนังสือวิชาการ
อ่านครั้งแรกคร่าว และ อ่านละเอียดอีกครั้งภายหลัง
หาแนวคิดหลักของผู้เขียน เจตนคติ ลีลาการเขียน วิธีการนำเสนอ วิธีการลำดับเรื่อง
อ่านชื่อเรื่อง สารบัญ หนังสืออ้างอิง
อ่านคำนำ บทคัดย่อ และ บทสรุป
อ่านประโยคแรกของแต่ละย่อหน้าเพื่อดูเนื้อเรื่องเบื้องต้น
ดูตาราง กราฟ
อ่านแบบ SQ3R
ใช้อ่านหนังสือวิชาการที่ยากๆ
S SURVEY อ่านครั้งแรกคร่าวๆเพื่อดูภาพรวมของเรื่องที่อ่าน
Q QUESTION อ่านไป ตั้งคำถามไป เพื่อหาคำตอบ / เหตุผลเรื่องที่อ่าน
R READ อ่านโดยละเอียดอีกครั้งเพื่อหาคำตอบของคำถามที่ได้ตั้งเอาไว้ในใจ
R RECITE จดบันทึก / ย่อ ประเด็นสำคัญๆ โดยใช้สำนวนของตนเอง
R REVIEW ทำทวนหัวข้อที่ได้จดบันทึกเอาไว้เป็นระยะๆ
อ่่านแบบกวาดสายตา ( SCANNING )
เพื่อหาคำตอบที่เฉพาะสำหรับคำถามที่เจาะจง
ใช้ความเร็วในการอ่านสูง
ข้อความที่ยาวๆควรอ่านข้ามไปบ้างเพื่อหา keyword ที่สำคัญ
อ่านเฉพาะที่เป็นกริยาแท้ ไม่ต้องอ่านคำขยาย
ไม่จำเป็นต้องเข้าใจเรื่องที่อ่่านทั้งหมด
การอ่านแบบเข้ม ( INTENSIVE )
เพื่อหาข้อมูล วิเคราะห์ แนวคิดของผู้เขียน
อ่านทุกหน้า ครั้งแรกคร่าวๆ และ อ่านละเอียดอีกครั้งภายหลัง
ค้นหาใจความสำคัญและเหตุผลประกอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล
จดบันทึกย่อ
8. เทคนิคการจำ
ขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญ
อ่านครั้งแรกให้จบโดยเร็ว
ตั้งคำถามระหว่างอ่าน
ขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญตอนอ่านครั้งที่ 2
Summarizing สรุปย่อใจความสำคัญตามลำดับ
เลือกเอาแต่ใจความสำคัญ
เขียนสรุปใหม่ให้สั้น กระชับ ชัดเจน
ไม่มีความเห็นของผู้อ่านรวมอยู่ในข้อสรุปด้วย
การทำบันทึกย่อยความ
จดย่อเฉพาะหัวข้อที่สำคัญๆโดยไม่ต้องมีรายละเอียด
ย่อตามความเข้าใจด้วยสำนวนของตัวเอง
Listing จดหัวข้อเรียงลำดับก่อนหลัง
Branching Note แสดงหัวข้อโดยใช้แผนภูมิแบบกิ่งก้านสาขา
Outlining ทำโครงร่างเรื่องที่อ่านตามความเข้าใจ หรือ เรียงลำดับหัวข้อใหม่แตกต่างจากหนังสือที่อ่าน
สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและวิศวกรรม รังสรรค์ วงษ์บุญ
Office of Law and Engineering Consultants
ปัจจุบันความรู้วิชาการในด้านต่างๆได้มีการเผยแพร่ออกมามากมายเพื่อให้เราได้ศึกษาหาความรู้ ใครอ่านมากก็ได้เปรียบคนอื่น ยิ่งในเวลาที่เท่าๆกันด้วยแ้ล้วถ้าเราสามารถอ่านหนังสือ
ได้เร็วและรู้เรื่องก็จะยิ่งได้เปรียบคนอื่นๆมากยิ่งขึ้นเป็นเงาตามตัวเพราะจะประหยัดเวลาในการอ่านได้มาก หรือ เราจะสามารถอ่านหนังสือได้มากขึ้นในเวลาที่เท่าๆกัน ดังนั้น การศึกษา
วิธีการอ่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่องจึงเป็นสิ่งจำเป็นและมีประโยชน์สำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้สิ่งต่างๆเป็นอย่างมาก
มีงานวิจัยเป็นจำนวนมากได้เสนอวิธีการอ่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่อง และ ต่อไปนี้เป็นวิธีการอ่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่องอีกวิธีหนึ่งในหลายๆวิธี
2. ลักษณะการอ่านที่มีประสิทธิภาพ
อ่านได้เร็ว
จดจำสิ่งที่อ่านได้
เข้าใจสิ่งที่อ่านและตีความได้ถูกต้อง
ถ่ายทอดให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจตามได้
3. วิธีที่ทำให้การอ่านช้าลง และ แนวทางแก้ไข
ขยับริมฝีปากขณะอ่าน - แก้ไขโดยการคาบปากกาหรือดินสอขณะอ่าน
ส่ายศีรษะไปมาขณะอ่าน - แก้ไขโดยเอามือทั้ง 2 ข้างยันแก้มไว้แล้วเอาข้อศอกยันไว้บนโต๊ะ
อ่านทีละคำ - แก้ไขโดยอ่านเป็นวลี หรือ ประโยค
อ่านออกเสียงพึมพำเบาๆ - แก้ไขโดยการคาบปากกาหรือดินสอขณะอ่าน
ใช้นิ้วชี้ไปที่ตัวหนังสือขณะอ่าน - แก้ไขโดยคาบปากกาหรือดินสอขณะอ่าน หรือ เอามือกอดอกไว้
อ่านย้อนกลับไปกลับมา ถ้าต้องอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์หรือเพื่อตีความก็สามารถทำได้ - แก้ไขโดยบังคับตัวเองให้อ่านไปเรื่อยๆ หรือ ใช้ไม้บรรทัด หรือ กระดาษแข็งปิดส่วนที่ไม่ได้อ่าน
4. ลักษณะการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
กำหนดจุดมุ่งหมายในการอ่าน
อ่านเพื่ออะไร - เพื่อหาความรู้ หรือ เพื่อความบันเทิง หรือ เพื่อฆ่าเวลา
ต้องจำอะไรบ้าง
มีคำถามใดที่จะต้องหาคำตอบให้ได้บ้าง
จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคืออะไร
เมื่ออ่านจบแล้วได้ข้อสรุปอะไรบ้าง
มีสมาธิในการอ่าน
ขีดเส้นใต้ หรือ เน้นข้อความทีอ่าน
มีวิธีการที่ยืดหยุ่นในการอ่าน
ปรับความเร็วในการอ่านได้เหมาะสมกับจุดประสงค์ของการอ่าน
ประยุกต์วิธีการอ่านที่หลากหลายในการอ่าน
เข้าใจเรื่องที่อ่่าน
จำได้
จับใจความสำคัญได้
ตีความ หรือ ขยายความได้
สรุปได้
ถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้รับรู้ รับทราบได้
5. วิธีการอ่่านหนังสือให้เร็วและรู้เรื่องโดยทั่วไป
ถ้าข้อความที่อ่านเป็นย่อหน้า
อ่านประโยคแรก และ ประโยคสุดท้าย
ถามตัวเองว่ารู้เรื่องและเข้าใจย่อหน้านั้นๆหรือไม่ หรือ ต้องอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม
ถ้าเข้าใจ หรือ เดาความหมายได้ ให้อ่านย่อหน้าต่อไป
อ่านเรื่องนั้นๆติดต่อกันจนจบ ถ้าหยุดความคิดจะไม่ต่อเนื่อง
คาดการณ์เรื่องที่อ่านล่วงหน้าว่าต่อไปจะเป็นอย่างไร
อ่านข้อความแต่ละบรรทัดเป็นวลี หรือ ประโยค อย่าอ่านทีละคำ
ให้จุด focus ของตาอยู่กึ่งกลางวลี หรือ ประโยค
6. วิธีการช่วยจำขณะอ่าน
ขีดเส้นใต้ หรือ เน้นข้อความที่คิดว่าสำคัญโดยใช้ปากกาสี
ทำการบันทึกย่อ โดยทำเค้าโครงร่างเฉพาะหัวข้อสำคัญๆ หรือ สรุปสาระสำคัญ
7. วิธีการอ่านที่ดีและมีประสิทธิภาพ มีหลายวิธีแต่ที่นิยมกันมากมี 5 วิธี
อ่านแบบข้ามคำ ( SKIMMING )
อ่าน 2 - 3 คำแรก และ 2 - 3 สุดท้ายของแต่ละประโยค
อ่านช่วงแรกของประโยคเร็วๆ และ ไม่อ่านจนจบประโยค
อ่านเฉพาะตอนกลางของหน้าหนังสือ
อ่านประโยคแรก + ประโยคสุดท้ายของแต่ละย่อหน้า
อ่านเฉพาะวลี หรือ กลุ่มคำที่สำคัญๆ
การอ่านแบบสำรวจ ( SURVEY )
สำหรับอ่านหนังสือวิชาการ
อ่านครั้งแรกคร่าว และ อ่านละเอียดอีกครั้งภายหลัง
หาแนวคิดหลักของผู้เขียน เจตนคติ ลีลาการเขียน วิธีการนำเสนอ วิธีการลำดับเรื่อง
อ่านชื่อเรื่อง สารบัญ หนังสืออ้างอิง
อ่านคำนำ บทคัดย่อ และ บทสรุป
อ่านประโยคแรกของแต่ละย่อหน้าเพื่อดูเนื้อเรื่องเบื้องต้น
ดูตาราง กราฟ
อ่านแบบ SQ3R
ใช้อ่านหนังสือวิชาการที่ยากๆ
S SURVEY อ่านครั้งแรกคร่าวๆเพื่อดูภาพรวมของเรื่องที่อ่าน
Q QUESTION อ่านไป ตั้งคำถามไป เพื่อหาคำตอบ / เหตุผลเรื่องที่อ่าน
R READ อ่านโดยละเอียดอีกครั้งเพื่อหาคำตอบของคำถามที่ได้ตั้งเอาไว้ในใจ
R RECITE จดบันทึก / ย่อ ประเด็นสำคัญๆ โดยใช้สำนวนของตนเอง
R REVIEW ทำทวนหัวข้อที่ได้จดบันทึกเอาไว้เป็นระยะๆ
อ่่านแบบกวาดสายตา ( SCANNING )
เพื่อหาคำตอบที่เฉพาะสำหรับคำถามที่เจาะจง
ใช้ความเร็วในการอ่านสูง
ข้อความที่ยาวๆควรอ่านข้ามไปบ้างเพื่อหา keyword ที่สำคัญ
อ่านเฉพาะที่เป็นกริยาแท้ ไม่ต้องอ่านคำขยาย
ไม่จำเป็นต้องเข้าใจเรื่องที่อ่่านทั้งหมด
การอ่านแบบเข้ม ( INTENSIVE )
เพื่อหาข้อมูล วิเคราะห์ แนวคิดของผู้เขียน
อ่านทุกหน้า ครั้งแรกคร่าวๆ และ อ่านละเอียดอีกครั้งภายหลัง
ค้นหาใจความสำคัญและเหตุผลประกอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล
จดบันทึกย่อ
8. เทคนิคการจำ
ขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญ
อ่านครั้งแรกให้จบโดยเร็ว
ตั้งคำถามระหว่างอ่าน
ขีดเส้นใต้ข้อความสำคัญตอนอ่านครั้งที่ 2
Summarizing สรุปย่อใจความสำคัญตามลำดับ
เลือกเอาแต่ใจความสำคัญ
เขียนสรุปใหม่ให้สั้น กระชับ ชัดเจน
ไม่มีความเห็นของผู้อ่านรวมอยู่ในข้อสรุปด้วย
การทำบันทึกย่อยความ
จดย่อเฉพาะหัวข้อที่สำคัญๆโดยไม่ต้องมีรายละเอียด
ย่อตามความเข้าใจด้วยสำนวนของตัวเอง
Listing จดหัวข้อเรียงลำดับก่อนหลัง
Branching Note แสดงหัวข้อโดยใช้แผนภูมิแบบกิ่งก้านสาขา
Outlining ทำโครงร่างเรื่องที่อ่านตามความเข้าใจ หรือ เรียงลำดับหัวข้อใหม่แตกต่างจากหนังสือที่อ่าน
สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและวิศวกรรม รังสรรค์ วงษ์บุญ
Office of Law and Engineering Consultants
เทคนิคการอ่านหนังสือให้จบเร็วๆ และจำได้ด้วย ด้วย Mind Map
แบบว่าเพื่อนผมเค้าแนะนำให้ผมเอา VCD Mind Map ไปดู เค้าบอกว่า คนเราถ้าอ่านหนังสือหรือฟังอะไรที่มันช้าๆ จะจำไม่ได้ ตัวอย่างเล่น ถ้าเราพูดว่า สา หวาด ดี คราบ โผม ชื่อ นาย สูด หล่อ ที่ สูด นาย โลก เลย ถ้าเป็นแบบนี้มันจะจำได้ยากครับ เพราะฉนั้น ถ้าอยากจำได้ดี ต้องอ่านให้เร็ว หรือว่าฟัง/ดู VCD โดยใช้ Power DVD แบบเร็ว 1.5x-2x
เทคนิคการอ่านให้เร็ว ก็ทำแบบนี้ครับ ใช้นิ้วแหย่เอ๊ย กวาดไล่ตามตัวหนังสือนำหน้าสายตาของเราที่กำลังจะไปถึงหนังสือตัวนั้น มันจะทำให้เราอ่านได้เร็ว และสมาธิของเราก็จะอยู่ที่นิ้วของเรา+ตัวหนังสือด้วย
ลองเอาไปหัดดูครับ แรกๆมันจะขัดๆ แต่บ่อยๆแล้วจะดีเองครับ ทุกอย่างมันจะยากก่อน แล้วถึงจะง่าย
เรื่องเทคนิคการจด เค้าบอกให้เราทำแบบนี้ครับ แต่ผมไม่รู้จะอธิบายยังไงอ่ะ ดูภาพเองแล้วกันครับ พวกนักศึกษาแพทย์ที่โรงบาลผม เค้าจดกันแบบนี้อ่ะครับ ไม่จดเป็นตัวหนังสือ เพราะว่าสมองจะไม่ค่อยจำตัวหนังสือที่เรียงๆกันเป็นเส้นตรง แต่สมองจะจดจำภาพได้ดีกว่าครับ
นี่คือตัวอย่างการจดบันทึกแบบ Mind Map
ดูแล้วเหมือนเด็กน้อยเลย แต่มันก็ทำให้เราจำได้จริงๆครับ เหตุผลเพราะว่า ถ้าเราจดเป็นรูป สมองของเราจะตื่นเต้น เพราะว่าเราไม่เคยเห็นแบบนี้มาก่อน แล้วมันจะไปกระตุ้นสมองทั้งสองซีก(ถ้าจำไม่ผิดนะ) มันจะช่วยกันจด
เทคนิคการอ่านให้เร็ว ก็ทำแบบนี้ครับ ใช้นิ้วแหย่เอ๊ย กวาดไล่ตามตัวหนังสือนำหน้าสายตาของเราที่กำลังจะไปถึงหนังสือตัวนั้น มันจะทำให้เราอ่านได้เร็ว และสมาธิของเราก็จะอยู่ที่นิ้วของเรา+ตัวหนังสือด้วย
ลองเอาไปหัดดูครับ แรกๆมันจะขัดๆ แต่บ่อยๆแล้วจะดีเองครับ ทุกอย่างมันจะยากก่อน แล้วถึงจะง่าย
เรื่องเทคนิคการจด เค้าบอกให้เราทำแบบนี้ครับ แต่ผมไม่รู้จะอธิบายยังไงอ่ะ ดูภาพเองแล้วกันครับ พวกนักศึกษาแพทย์ที่โรงบาลผม เค้าจดกันแบบนี้อ่ะครับ ไม่จดเป็นตัวหนังสือ เพราะว่าสมองจะไม่ค่อยจำตัวหนังสือที่เรียงๆกันเป็นเส้นตรง แต่สมองจะจดจำภาพได้ดีกว่าครับ
นี่คือตัวอย่างการจดบันทึกแบบ Mind Map
ดูแล้วเหมือนเด็กน้อยเลย แต่มันก็ทำให้เราจำได้จริงๆครับ เหตุผลเพราะว่า ถ้าเราจดเป็นรูป สมองของเราจะตื่นเต้น เพราะว่าเราไม่เคยเห็นแบบนี้มาก่อน แล้วมันจะไปกระตุ้นสมองทั้งสองซีก(ถ้าจำไม่ผิดนะ) มันจะช่วยกันจด
วันพุธที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)